By using this site, you agree to the Privacy Policy and Terms of Use.
Accept
ForexMonday
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
    ข่าวสำคัญShow More
    ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง
    กันยายน 19, 2023
    รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น
    กันยายน 19, 2023
    “เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง
    กันยายน 12, 2023
    ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน
    กันยายน 12, 2023
    สื่อตีข่าว “คิม จองอึน” เดินทางเยือนรัสเซีย ร่วมถก “ปูติน” สัปดาห์นี้
    กันยายน 11, 2023
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
    ปฏิทินเศรษฐกิจShow More
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 22 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 22, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 3 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 3, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 2 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 2, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 11 กรกฎาคม 2023
    กรกฎาคม 11, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2023
    มิถุนายน 19, 2023
  • บทวิเคราะห์
    บทวิเคราะห์Show More
    USD กับการประกาศเงินเฟ้อสหรัฐในช่วงเวลา 19:30 น. วันที่ 13/09/2023
    กันยายน 13, 2023
    US30USD มีโอกาสฟื้นตัวระยะสั้น 12/09/2023
    กันยายน 12, 2023
    AUDJPY แกว่งตัวระยะสั้น 8/09/2023
    กันยายน 8, 2023
    EURUSD มีโอกาสร่วงลงต่อเนื่อง 8/09/2023
    กันยายน 8, 2023
    GBPJPY ร่วงลงต่อเนื่อง 1/09/2023
    กันยายน 1, 2023
  • วิดีโอ
    วิดีโอShow More
    รายการประจำวันที่ 10 กรกฎาคม 2023 ติดตามสมาชิก FOMC
    กรกฎาคม 11, 2023
    รายการประจำวันที่ 16 มิถุนายน 2023 จับทิศทางตลาด
    มิถุนายน 19, 2023
    รายการประจำวันที่ 24 พฤษภาคม 2023 จับตาสามเหตุการณ์หลัก
    พฤษภาคม 25, 2023
    รายการประจำวันที่ 19 พฤษภาคม 2023 จับตาประธาน FED คืนนี้
    พฤษภาคม 22, 2023
    รายการประจำวันที่ 18 พฤษภาคม 2023 ติดตามรายงานบ้านมือสองสหรัฐ
    พฤษภาคม 19, 2023
Reading: เฟดส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น-ลดถือครองสินทรัพย์ หวังสกัดเงินเฟ้อ
Dashboard Forexmonday
ForexMondayForexMonday
Aa
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
  • บทวิเคราะห์
  • วิดีโอ
  • Dashboard Forexmonday
Search
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
  • บทวิเคราะห์
  • วิดีโอ
  • Dashboard Forexmonday
Follow US
  • Advertise
© 2022 forexmonday News Network. Design Company. All Rights Reserved.
ForexMonday > Blog > ข่าวสำคัญ > หุ้นและข่าวต่างประเทศ > เฟดส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น-ลดถือครองสินทรัพย์ หวังสกัดเงินเฟ้อ

เฟดส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น-ลดถือครองสินทรัพย์ หวังสกัดเงินเฟ้อ

admin
Last updated: 2022/01/06 at 7:00 PM
admin Published มกราคม 6, 2022
Share
SHARE

เฟด เปิดเผยรายงานการประชุมประจำเดือนธ.ค.ในวันพุธ (5 ม.ค.) โดยระบุว่า ตลาดแรงงานของสหรัฐอยู่ในภาวะตึงตัวอย่างมาก ซึ่งไม่เพียงแต่ทำให้เฟดต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการปรับลดการถือครองสินทรัพย์ทั้งหมดด้วย

“กรรมการเฟดส่วนใหญ่มีความเห็นว่า เมื่อพิจารณาจากแนวโน้มเศรษฐกิจ, ภาวะตลาดแรงงานและเงินเฟ้อ ก็ถือเป็นเรื่องเหมาะสมที่เฟดจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น (Federal Funds Rate) ในเวลาที่รวดเร็วขึ้น หรือรวดเร็วกว่าที่กรรมการเฟดคาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ ขณะที่กรรมการเฟดบางส่วนมองว่า เป็นเรื่องที่เหมาะสมที่จะเริ่มปรับลดขนาดงบดุลบัญชี (Balance Sheet) ของเฟดในทันทีหลังจากที่มีการเริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย”เฟดระบุในรายงานการประชุมประจำวันที่ 14-15 ธ.ค. 2564

รายงานการประชุมยังระบุด้วยว่า ในการคาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของเจ้าหน้าที่เฟด (Dot Plot) บ่งชี้ว่า การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกจะเกิดขึ้นรวดเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ โดยคาดว่าจะเกิดขึ้นในเดือนมิ.ย. 2565 จากเดิมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในไตรมาสแรกของปี 2566

รายงาน Dot Plot ยังระบุด้วยว่า เจ้าหน้าที่เฟดส่วนใหญ่คาดการณ์ว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 3 ครั้งในปี 2565 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรายงานในเดือนก.ย.ที่ระบุว่าจะมีการปรับขึ้นดอกเบี้ยเพียงครั้งเดียวในปี 2565 นอกจากนี้ รายงาน Dot Plot ยังระบุว่า เจ้าหน้าที่เฟดคาดการณ์ว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจำนวน 2 ครั้งทั้งในปี 2566 และ 2567

ภายหลังการประชุมเฟดในวันที่ 14-15 ธ.ค.เสร็จสิ้นลง คณะกรรมการเฟดประกาศว่าจะเพิ่มการปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (คิวอี) เป็นเดือนละ 3 หมื่นล้านดอลลาร์

เริ่มตั้งแต่เดือนม.ค. 2565 โดยการปรับลดวงเงินคิวอีของเฟดจะเพิ่มขึ้น 2 เท่าจากเดิมเดือนละ 1.5 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึ่งจะส่งผลให้เฟดยุติการทำคิวอีในเดือนมี.ค. 2565

เฟดปรับนโยบายการเงินดังกล่าวหลังจากกระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยก่อนหน้านั้นเพียงไม่กี่วันว่า ดัชนีราคาผู้บริโภค (ซีพีไอ) ซึ่งเป็นมาตรวัดเงินเฟ้อที่เกิดจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค พุ่งขึ้น 6.8% ในเดือนพ.ย. เมื่อเทียบเป็นรายปี ซึ่งเป็นการขยายตัวในอัตราที่รวดเร็วที่สุดในรอบเกือบ 40 ปี

แหล่งที่มาของข่าว

https://www.bangkokbiznews.com/world/981062

You Might Also Like

ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง

รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น

“เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง

ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน

สื่อตีข่าว “คิม จองอึน” เดินทางเยือนรัสเซีย ร่วมถก “ปูติน” สัปดาห์นี้

TAGGED: fed, federal reserve, Inflation, ดอกเบี้ย, ประชุมปรับดอกเบี้ย, ปรับดอก, ปรับดอกเบี้ย, อัตราดอกเบี้ย, เงินเฟ้อ
admin มกราคม 6, 2022
Share this Article
Facebook Twitter Email Print
Previous Article ออสเตรเลียเจอติดโควิดทำนิวไฮ
Next Article นายกฯ อิสราเอลชี้วัคซีนเข็ม 4 ภูมิพุ่ง 5 เท่า

Follow US

Find US on Social Medias
73k Like
62.3k Follow
2.1k Follow
20.3k Subscribe

Weekly Newsletter

Subscribe to our newsletter to get our newest articles instantly!

Popular News
ข่าวสำคัญหุ้นและข่าวต่างประเทศ

แบงก์ชาติจีนระงับการอัดฉีดเงินวันนี้ เหตุสภาพคล่องเพียงพอ

admin admin เมษายน 8, 2019
ราคาทองคำจะปรับตัวลงจริงหรือไม่
ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2022
“อาวดี้” ชี้อุตสาหกรรมรถยนต์เยอรมนีจะเผชิญปัญหาขาดแคลนชิปอีกหลายปี
บอนด์ยีลด์สหรัฐดีดตัว ก่อนสหรัฐ-จีนเจรจาการค้าสัปดาห์นี้
- Advertisement -
Ad imageAd image
Global Coronavirus Cases

Confirmed

0

Death

0

More Information:Covid-19 Statistics

You Might Also Like

ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง

กันยายน 19, 2023

รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น

กันยายน 19, 2023

“เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง

กันยายน 12, 2023

ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน

กันยายน 12, 2023
Previous Next
about us

.

71k Like
62.2k Follow
2.1k Follow
16.1k Subscribe

© forexmonday.com. Design Company. All Rights Reserved.

Removed from reading list

Undo
Welcome Back!

Sign in to your account

Lost your password?