By using this site, you agree to the Privacy Policy and Terms of Use.
Accept
ForexMonday
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
    ข่าวสำคัญShow More
    ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง
    กันยายน 19, 2023
    รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น
    กันยายน 19, 2023
    “เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง
    กันยายน 12, 2023
    ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน
    กันยายน 12, 2023
    สื่อตีข่าว “คิม จองอึน” เดินทางเยือนรัสเซีย ร่วมถก “ปูติน” สัปดาห์นี้
    กันยายน 11, 2023
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
    ปฏิทินเศรษฐกิจShow More
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 22 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 22, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 3 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 3, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 2 สิงหาคม 2023
    สิงหาคม 2, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 11 กรกฎาคม 2023
    กรกฎาคม 11, 2023
    ปฏิทินเศรษฐกิจประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2023
    มิถุนายน 19, 2023
  • บทวิเคราะห์
    บทวิเคราะห์Show More
    USD กับการประกาศเงินเฟ้อสหรัฐในช่วงเวลา 19:30 น. วันที่ 13/09/2023
    กันยายน 13, 2023
    US30USD มีโอกาสฟื้นตัวระยะสั้น 12/09/2023
    กันยายน 12, 2023
    AUDJPY แกว่งตัวระยะสั้น 8/09/2023
    กันยายน 8, 2023
    EURUSD มีโอกาสร่วงลงต่อเนื่อง 8/09/2023
    กันยายน 8, 2023
    GBPJPY ร่วงลงต่อเนื่อง 1/09/2023
    กันยายน 1, 2023
  • วิดีโอ
    วิดีโอShow More
    รายการประจำวันที่ 10 กรกฎาคม 2023 ติดตามสมาชิก FOMC
    กรกฎาคม 11, 2023
    รายการประจำวันที่ 16 มิถุนายน 2023 จับทิศทางตลาด
    มิถุนายน 19, 2023
    รายการประจำวันที่ 24 พฤษภาคม 2023 จับตาสามเหตุการณ์หลัก
    พฤษภาคม 25, 2023
    รายการประจำวันที่ 19 พฤษภาคม 2023 จับตาประธาน FED คืนนี้
    พฤษภาคม 22, 2023
    รายการประจำวันที่ 18 พฤษภาคม 2023 ติดตามรายงานบ้านมือสองสหรัฐ
    พฤษภาคม 19, 2023
Reading: ปัจจัยเสี่ยงรุมฉุดศก.อาเซียนโตชะลอปีหน้า
Dashboard Forexmonday
ForexMondayForexMonday
Aa
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
  • บทวิเคราะห์
  • วิดีโอ
  • Dashboard Forexmonday
Search
  • หน้าแรก
  • ข่าวสำคัญ
  • ปฏิทินเศรษฐกิจ
  • บทวิเคราะห์
  • วิดีโอ
  • Dashboard Forexmonday
Follow US
  • Advertise
© 2022 forexmonday News Network. Design Company. All Rights Reserved.
ForexMonday > Blog > ข่าวสำคัญ > หุ้นและข่าวต่างประเทศ > ปัจจัยเสี่ยงรุมฉุดศก.อาเซียนโตชะลอปีหน้า

ปัจจัยเสี่ยงรุมฉุดศก.อาเซียนโตชะลอปีหน้า

admin
Last updated: 2018/12/13 at 12:28 AM
admin Published ธันวาคม 13, 2018
Share
SHARE

ปัจจัยเสี่ยงรุมฉุดศก.อาเซียนโตชะลอปีหน้า – นักวิเคราะห์เตือนหลายปัจจัยเสี่ยงฉุดเศรษฐกิจ 5 ชาติอาเซียน ชะลอตัวลง 0.2% ปีหน้า

แบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินช์ คาดการณ์ว่า สงครามการค้าระหว่างสหรัฐและจีน เศรษฐกิจจีนชะลอตัว และทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น จะส่งผลให้การขยายตัวของเศรษฐกิจ 5 ชาติอาเซียน ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ชะลอตัวลง 0.2% มาอยู่ที่ 4.8% ในปี 2562 ลดลงจากการขยายตัว 5% ในปี 2561

ทั้งนี้ จีดีพีเฉลี่ยของ 5 ชาติอาเซียน ขยายตัวเพียง 4.5% ในไตรมาส 3 ของปีนี้ ลดลงจากการขยายตัว 5.5% ของไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสงครามการค้าส่งผลกระทบต่อการส่งออก

“ปัจจัยเสี่ยงของอาเซียนมากเกินกว่าจะพูดถึงได้” นายโมฮัมเหม็ด ฟาอิซ นากูธา นักเศรษฐศาสตร์ของแบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินช์ ประจำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าว โดยระบุว่า ปัจจัยเสี่ยงหลักๆ ได้แก่ ข้อพิพาทการค้าระหว่างสหรัฐและจีน เศรษฐกิจจีนที่จะขยายตัวช้าลง และแนวโน้มที่ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยก่อนคาดการณ์

ขณะที่ นางเซเลนา ลิง หัวหน้าฝ่ายวิจัยและกลยุทธ์การคลังของธนาคารโอซีบีซีในสิงคโปร์ กล่าวว่า ปัจจัยเสี่ยงที่อันตรายที่สุดสำหรับชาติอาเซียนคือการกีดกันทางการค้า เนื่องจากความขัดแย้งในประเด็นต่างๆ เช่น นโยบาย “เมด อิน ไชน่า 2025” ของปักกิ่ง และการแข่งขันในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงระหว่างสหรัฐและจีน จะยังไม่สิ้นสุดภายในระยะเวลาอันใกล้นี้ แม้สหรัฐและจีนจะตกลงพักรบสงครามการค้าชั่วคราว 90 วัน

ทั้งนี้ โอซีบีซีคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจมาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย และเวียดนามในปี 2562 จะชะลอตัวเช่นกัน แต่ไม่ได้เปิดเผยตัวเลขชัดเจน

อย่างไรก็ดี นายจอห์น วูดส์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการลงทุนประจำเอเชีย-แปซิฟิก ของธนาคารเครดิต สวิส คาดการณ์ว่า ตลาดหุ้นของชาติตลาดเกิดใหม่ในเอเชีย มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นในปีหน้า เนื่องจากนักลงทุนต่างชาติมีคาดว่าจะเข้ามาลงทุนอย่างต่อเนื่อง หลังผลประกอบการของเอกชนสหรัฐมีแนวโน้มลดลง และค่าเงินดอลลาร์สหรัฐที่อาจอ่อนค่า ทำให้นักลงทุนมองหาตลาดใหม่ๆ สำหรับการลงทุน

นอกจากนี้ เครดิต สวิส เตือนว่า การเมืองยังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของบางชาติ เช่น ไทย ซึ่งมีกำหนดเลือกตั้งในปีหน้า เช่นเดียวกับอินโดนีเซีย ซึ่งจะจัดเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือน เม.ย.ปีหน้า โดยเครดิต สวิส และแบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินช์ คาดการณ์ว่า นายโจโก วิโดโด จะรั้งเก้าอี้ผู้นำอินโดนีเซียอีกสมัย

Source: Posttoday

You Might Also Like

ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง

รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น

“เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง

ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน

สื่อตีข่าว “คิม จองอึน” เดินทางเยือนรัสเซีย ร่วมถก “ปูติน” สัปดาห์นี้

TAGGED: 2019, asean
admin ธันวาคม 13, 2018
Share this Article
Facebook Twitter Email Print
Previous Article คาด’เฟด’จะชะลอหรือหยุดขึ้นดอกเบี้ยปีหน้า
Next Article ฝรั่งเศสติดหล่ม แก้ปัญหาศก.เรื้อรัง

Follow US

Find US on Social Medias
73k Like
62.3k Follow
2.1k Follow
20.3k Subscribe

Weekly Newsletter

Subscribe to our newsletter to get our newest articles instantly!

Popular News
บทวิเคราะห์บทวิเคราะห์-Forex

AUDJPY เริ่มปรับตัวร่วงลง 29/06/2023

admin admin มิถุนายน 29, 2023
⚠️”เศรษฐา” เร่งทำความเข้าใจคลัง-สภาพัฒน์ เดินหน้า “ดิจิทัลวอลเล็ต” กระตุ้นศก.
อินเดียเตรียมออกกฎหมายแบนการซื้อขายเงินคริปโต
สหรัฐ-จีนจ่อเพิ่มเที่ยวบินรายสัปดาห์เพิ่มเป็นสองเท่า เริ่ม 1 ก.ย.นี้
คอลัมน์ Big Data Analysis: เผยโฉมแหล่งน้ำมันดิบโลก
- Advertisement -
Ad imageAd image
Global Coronavirus Cases

Confirmed

0

Death

0

More Information:Covid-19 Statistics

You Might Also Like

ต่างชาติซื้อพันธบัตรสหรัฐเพิ่มในเดือนก.ค. แต่จีนถือครองลดลง

กันยายน 19, 2023

รองผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษชี้ภาคธนาคารเสี่ยงเผชิญหนี้เสียสูงขึ้น

กันยายน 19, 2023

“เจพีมอร์แกน” ชี้เศรษฐกิจสหรัฐเสี่ยงถูกกระทบจากสงครามในยูเครน-นโยบายธนาคารกลาง

กันยายน 12, 2023

ภาวะธุรกิจออสเตรเลียแกร่ง-เงินเฟ้อสูง อาจกระตุ้นมาตรการคุมเข้มด้านการเงิน

กันยายน 12, 2023
Previous Next
about us

.

71k Like
62.2k Follow
2.1k Follow
16.1k Subscribe

© forexmonday.com. Design Company. All Rights Reserved.

Removed from reading list

Undo
Welcome Back!

Sign in to your account

Lost your password?